Translate

youtube

วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ฟิสิกส์ นิวเคลียร์


ฟิกสิกส์ นิวเคลียร์


รังสีที่แผ่ออกมาจากกัมมันตภาพรังสี มี 3 ชนิด คือ
1. รังสีแอลฟา ทำให้อากาศแตกตัวเป็นอิออน
ได้ดี เนื่องจากอำนาจทะลุทะลวงต่ำ
2. รังสีบีตา อำนาจทะลุทะลวงปานกลาง ทำให้
แตกตัวปานกลาง
3. รังสีแกมมา เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อำนาจทะลุ
ทะลวงสูงจึงทำให้แตกตัวได้น้อย
การสลายตัว
อัตราการสลายตัว 
N = จำนวนนิวเคลียสเดิม
= จำนวนนิวเคลียสที่สลายตัว
 ค่านิจของการสลายตัว
A = กัมมันตภาพ = อัตราการสลายตัวของนิวเคลียส
ในขณะหนึ่ง หน่วย Bq
กัมมันตภาพ คือ 
1 คูรี = 3.7x1010 Bq
 = ช่วงเวลาที่สลายตัว
T = เวลาครึ่งชีวิต
ถ้าปล่อยให้มีการสลายตัวเป็นเวลา t จะได้ว่า
N = จำนวนนิวเคลียสที่เหลือ
N0 = จำนวนนิวเคลียสที่มีอยู่เดิม
A = กัมมันตภาพที่เหลือ
A0 = กัมมันตภาพที่มีอยู่เดิม
m = มวลที่เหลือ
m= มวลที่มีอยู่เดิม
t = เวลาที่ผ่านไป
T = ครึ่งชีวิต
สภาพสมดุลของการสลายตัว
แมสสเปกโทรมิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์สารที่
เป็นไอโซโทป แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
1. ส่วนเร่งอนุภาค
2. ส่วนคัดเลือกความเร็ว :
แรงแม่เหล็ก = แรงไฟฟ้า
B = สนามแม่เหล็กส่วนที่คัดความเร็ว
3. ส่วนวิเคราะห์แยกไอโซโทป
= สนามแม่เหล็กที่ส่วน
แยกไอโซโทป
ขนาดของนิวเคลียส
R = รัศมีของนิวเคลียส
R0 = ค่าคงที่ = 1.2x10-15 m
A = เลขมวลของนิวเคลียส
มวลสารและพลังงาน
E = พลังงาน
= มวลที่เปลี่ยนไป
c = ความเร็วแสง = 3x108 m/s
พลังงานยึดเหนี่ยว
1. พลังงานยึดเหนี่ยวนิวคลีออน ให้เป็นนิวเคลียส
M = มวลอะตอม
mp = มวลของโปรตอน
mn = มวลของนิวตรอน
me = มวลของอิเลคตรอน
2. พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน
A = จำนวนนิวคลีออน = เลขมวล
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. พลังงานจากการสลายตัว
 ; C = ความเร็วแสง = 3x108 m/s
ถ้า Q เป็น + หมายถึง คายพลังงาน
Q เป็น - หมายถึง ดูดพลังงาน
2. ปฏิกิริยานิวเคลียร์อย่างง่าย
ในการยิงนิวเคลียสด้วยอนุภาค a เข้าชนนิวเคลียส x
ได้นิวเคลียส y และอนุภาค b
a + x ----> y + b หรือ x(a , b)y
ประเภทของปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. fission (ฟิชชัน) - ยิงนิวตรอนเข้าไปในนิวเคลียส
นิวเคลียส แตกออกเป็น 2 ส่วนและได้นิวตรอน 2-3 ตัว
วิ่งเข้าไปชนนิวเคลียสอื่น เป็น chain reaction
2. fusion (ฟิวชัน) เป็นปฏิกิริยารวมตัวของนิวเคลียส
ธาตุเบาเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่า